มาตรการคุมร้านบุฟเฟ่ต์ช่วงโควิด-19 ปิดร้านดีกว่าเปิดร้าน 

         เมื่อวันที่ 18 เดือนพฤษภาคมปีพศ 2564   ทางด้านกระทรวงสาธารณสุขได้มีการออกมายืนยันเกี่ยวกับมาตรการคุมเข้มร้านอาหารในโซนพื้นที่สีแดงโดยให้มีการควบคุมอย่างเข้มงวดตามมาตรการที่ทางกระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ซึ่งได้มีการประกาศเอาไว้แล้ว

ว่าร้านอาหารจะต้องมีการให้ลูกค้านั่งได้ไม่เกิน 25 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นจากจำนวนลูกค้าปกติที่เคยรับมาที่สำคัญทุกโต๊ะจะต้องมีการทำฉากกั้นไม่ให้นั่งใกล้กันและร้านอาหารจะเปิดได้ถึงแค่ 21:00 น เท่านั้นหลังจากนั้นจะเป็นการซื้อกลับไปกินที่บ้านได้ถึงแค่ 23:00 น 

          แน่นอนว่ามาตรการนี้เป็นการคุมเข้มเพื่อเป็นการไม่ให้ประชาชนอยู่ในความเสี่ยงที่อาจจะติดเชื้อไวรัสขณะที่ออกมาทานอาหารนอกบ้านและในขณะเดียวกัน

ในมุมมองของร้านอาหารนั้นเป็นการกระทำที่ทำให้ร้านอาหารนั้นไม่สามารถที่จะขายของได้เลยเพราะเมื่อเปิดร้านจะต้องมีต้นทุนในการเปิดร้านทั้งค่าเอาร้านค่าแอร์ที่ต้องเปิดให้ลูกค้ารวมถึงค่าจ้างพนักงานและค่าวัสดุในการทำอาหารซึ่งถ้าหากสามารถรับลูกค้าได้เพียงแค่วันละไม่เกิน 25 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นหากคำนวณรายรับกับรายจ่ายแล้วร้านอาหารจะได้ไม่คุ้มค่ากับการที่ต้องเสียเงินจ่ายค่าแอร์ในวันนั้นเลย

   อย่างไรก็ตามมาตรการคุมเข้มนี้เมื่อมีการพูดถึงร้านบุฟเฟต์นั้นปรากฏว่ามีการกำหนดนโยบายเพิ่มเติมด้วยว่าร้านบุฟเฟ่ต์นั้นนอกจากจะนั่งโต๊ะละคนแล้ว

ยังห้ามลูกค้าลุกขึ้นไปตัดเองจะต้องมีพนักงานคอยบริการให้ซึ่งแน่นอนว่าหากมีลูกค้านั่งอยู่ในร้าน 9 คนก็จะต้องมีพนักงานคอยบริการอย่างน้อย 3 คนเพื่อให้ทันความต้องการของลูกค้าที่จะสั่งอาหารนอกจากนี้ยังมีการคุมเข้มกำหนดว่าอาหารบุฟเฟ่ต์นั้นสามารถนั่งได้นานเกินครั้งละ 2 ชั่วโมง

       ซึ่งจะเห็นได้ว่าปกติแล้วร้านอาหารบุฟเฟ่ต์นั้นค่าหัวอยู่ที่ประมาณ 300 กว่าบาทถึง 500 กว่าบาทเพียงเท่านั้นถ้าหากว่าวันนึงรับลูกค้าได้เพียงไม่กี่คนและยังต้องมีพนักงานมายืนคอยบริการลูกค้าอยู่รวมถึงต้องมีค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อวัตถุดิบและค่าแอร์ค่าอุปกรณ์ต่างๆเรียกได้ว่าเปิดร้านมาไม่คุ้มทุนเลยทีเดียวซึ่งวิธีการแบบนี้สู้ให้ร้านบุฟเฟ่ต์ปิดร้านไปเลยจะยังสามารถเซฟค่าใช้จ่ายได้เยอะกว่าเพราะถ้าหากเปิดร้านยังไงก็ขาดทุนอย่างแน่นอน

        สำหรับนโยบายคุมเข้มของกระทรวงสาธารณสุขที่ออกมานั้นจะช่วยเรื่องลดความเสี่ยงของการติดเชื้อไวรัสได้จริงแต่จะมีปัญหาเกี่ยวกับผู้ประกอบการร้านอาหารที่จะต้องขาดทุนจากการดำเนินธุรกิจตามเงื่อนไขของกระทรวงสาธารณสุขนั้นเอง และนี่จะเป็นการทำให้ผู้ประกอบการร้านอาหารขาดทุนและในที่สุดก็จะปิดกิจการ เพราะเปิดขายของมาก็ไม่มีกำไร

 

สนับสนุนโดย.    UFABET เว็บหลัก