ไทยรั้งท้าย เอฟทีเอ

ไทยรั้งท้าย เอฟทีเอ ไม่จูงใจลงทุน อีอีซี

การลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกหรือว่าEECให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางเอาไว้ที่ปีละ5แสนล้านบาทนั้น.  ไทยรั้งท้าย เอฟทีเอ  นอกจากการส่งเสริมการลงทุนจากทางBOIทั้งในแง่ของภาษีและที่ไม่ใช่ภาษีแล้วอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการดึงดูดนักลงทุนเข้ามาในEECนั่นก็คือการเร่งออกไปทำข้อตกลงการค้าเสรีหรือว่าFTAกับต่างประชาติ

ซึ่งต้องยอมรับว่าในปัจจุบันนั้นประเทศไทยยังคงเป็นรองในหลายประเทศในภูมิภาคอยู่และนั่นเองเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ไม่สามารถดึงดูดนักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศไทยได้และถ้าเราไปดูก็จะพบว่าตลาดในประเทศไทยนั้นมีไม่ถึง70ล้านคนและไม่มากเพียงพอที่จะไปดึงดูดนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาตั้งฐานการผลิตในประเทศ

เพื่อรองรับตลาดภายในประเทศนั่นเอง เหมือนกับเวียดนามที่มีประชากร97ล้านคนขณะที่ฟิลิปปินส์มีจำนวน108ล้านคนและอินโดนีเซียมีมากกว่า270ล้านคน ดังนั้นจึงทำให้นักลงทุนที่จะเข้ามาในไทยจะมุ่งหวังการผลิตเพื่อส่งออกเป็นสำคัญเพื่อให้คุ้มค่ากับการลงทุน

โดยเครื่องมือหลักที่จะทำให้ไทยขยายตลาดการส่งออกได้มากขึ้นก็คือออกไปทำข้อตกลงFTAกับประเทศต่างๆทั่วโลก โดยเฉพาะที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่เพื่อให้ได้เปรียบในการส่งออกมากกว่าประเทศที่ไม่มีFTA แต่อย่างไรก็ตามเมื่อเทียบกับจุดแข็งในด้านนี้

ประเทศไทยก็ยังคงตามห่างประเทศคู่แข่งในอาเซียนอีกมาก มีข้อมูลากกระทรวงพาณิชย์ระบุว่าในอาเซียนประเทศที่มีข้อตกลงFTAมากที่สุดอันดับหนึ่ง ได้แก่ สิงค์โปร มีข้อตกลงFTA 27ฉบับครอบคุมมากถึง 65 ประเทศและคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ95.63ของประเทศคู่ค้าในตลาดโลก

อันดับสองคือ เวียดนาม มีข้อตกลงFTA 15ฉบับครอบคุม54ประเทศ อันดับสาม มาเลเซีย มีข้อตกลงFTA 14ฉบับครอบคุม19ประเทศ อันดับสี่ ไทย มีข้อตกลงFTA 13ฉบับครอบคุม18ประเทศ อันดับห้า อินโดนีเซียมีข้อตกลงFTA 11ฉบับครอบคุม18ประเทศเท่ากับไทย และ อันดับหก ฟิลิปปินส์ มีข้อตกลงFTA 9ฉบับครอบคุม20ประเทศ

จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้เห็นเจนว่าจำนวนประเทศที่ไทยมีข้อตกลงการค้าเสรีอยู่นั่นรั้งท้ายกลุ่มและคิดเป็นสัดส่วนประเทศคู่ค้าน้อยที่สุดนั่นทำให้ไทยมีจุดแข็งในการส่งออกน้อยกว่าประเทศคู่แข่งและถ้าดูในขณะของประชากรแล้วก็ยิ่งทำให้ไทยเสียเปรียบประเทศเวียดนาม อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์มากขึ้น

เพราะว่าประเทศเหล่านี้มีทั้งตลาดในประเทศและตลาดขนาดส่งออกขนาดใหญ่กว่าไทย ในส่วนของตัวเลขการส่งออกประเทศในอาเซียนก็เป็นการสะท้อนถึงความได้เปรียบของประเทศที่มีข้อตกลงFTAเป็นจำนวนมาก โดยในปี2563ประเทศที่มียอดการส่งออกอันดับหนึ่งของอาเซียนคือสิงค์โปรและมีข้อตกลงFTAมากที่สุด

มีมูลค่าการส่งออกสูงถึง12.34 แสนล้านบาท อันดับสอง เวียดนาม มีมูลค่าการส่งออก9.27ล้านบาท อันดับสาม มาเลเซีย มีมูลค่าการส่งออก 7.68ล้านบาท และ อันดับสี่ ไทยมีมูลค่าการส่งออก 7.55ล้านบาท ดังนั้นจึงเป็นโจทย์ข้อใหญ่ของรัฐบาลว่าจะมีความกล้าออกไปทำข้อตกลง

 

สนับสนุนโดย.    ufabet เว็บแม่